วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร ที่ 22 กันยายน 2558


                           Lesson 7


                  ของเล่น ขวดหนังสติก


   


สรุปวิจัย 

นางสาว รัตตนาภรณ์  คงกะพันธ์ เลขที่ 20


เรื่อง  การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์





สรุปวิจัย 

นางสาว วราภรณ์  แท่นคำ เลขที่ 17



เรื่อง  การศึกษาชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย




สรุปวิจัย 

นางสาว ยุภา  ธรรมโคตร เลขที่ 19


 เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


Skill:


  • การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล
  • การฝึกค้นคว้าออกแบบของเล่นด้วยตนเองให้เชื่อมโยงกบวิทยาสาสตร์



Apply:


  • นำไปใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและสามารถนำของเล่นชิ้นนี้ไปไว้ในมุมวิทยาศาสตร์ได้เพื่อเด็กจะได้เล่นและทดลองด้วยตนเองพร้อมกับเพื่อนๆ

Teaching  Techniques:


  • การใช้คำถามให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
  • การอธิบาย ยกตัวอย่าง


Evaluation:


  • Teacher   เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ อธิบายเนื้อหาในการสอนได้ละเอียดเข้าใง่าย
  • Friends แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
  • Self  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบนร้อย มีการจดบันทึกในการเรียน







วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2558

สรุปโทรทัศน์ครู

                                                         
                                                                     สรุปโทรทัศน์ครู

เรื่อง นารีวุฒิ  บ้านวิทยาศาสตร์น้อย
 
        บ้านวิทยาศาสตร์น้อย จัดการเรียนการสอนทดลองวิทยาาสตร์ให้กับนักเรียนอนุบาลในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เพื่อส่งเสริมให้น้องอนุบาลได้รู้จักคิด ชังสังเกตเเละคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลโดยมีชั่วโมงการเรียนที่เป็นการทดลองทางวิทยาศาสตร์สอดเเทรกอยู่ในทุกๆวัน ในการทดลองนั้นจะมีอุปกรณ์ในการทดลองที่หาได้ง่ายไม่ซับซ้อนที่เด็กสามารถทดลองทำลงมือปฎิบัติผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยตนเองได้ โดยในทุกกิจกรรมจะมีคุณครูเป็นผู้ค่อยเสริมประสบการณ์ค่อยถามเด็กอยูู่เป็นระยะเพื่อให้เด็กได้คิด
วิเคาระห์เเละสังเกต เปรียบเทียบที่จะตอบคำถามครูให้ได้กิจกรรมในการทดลองมีหลายกิจกรรม เช่น ตัวทำละลาย, ลอยนํ้าได้อย่างไร
หลอดดำนํ้า, จมหรือลอย, การกรองนํ้า, ฟองมหัศจรรย์, ไหลเเรงไหลค่อย เป็นต้น

       ตัวอย่างการทดลอง ตัวทำละลาย
      ในการบอกให้ทราบถงอุปกรณ์ในการทดลองคุณครูจะเป็นผู้ที่ถามเด็กว่านี่คืออะไร? ไม่ได้บอกหมดทุกอย่างเพราะอยากจให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทดลองเเละมีการคิดเละมักจะถามถึงปะสบการณ์เดิมให้เด็กได้อธิบาย การทดลองตวทำลายของเกลือ , นํ้าตาลเเละทราย โดยให้เด็กได้มีการสังเกตว่าสิ่งที่นำมาในวนนี้ 3 อย่าง มีอะไรที่สามารถลลายนํ้าไ้บ้าง โดยคุณครูจะใช้คำามในการให้เด็กได้คิด ว่าเพรอะไรว่าทำไมทรายถงไม่สามารถลลายนํ้าได้ เด็กก็จตอบตามที่เด็เห็นเพราะ่าทรายมีเม็ดใหญ่ว่า เเล้วคุณครูจะเป็นคนเฉลยสิ่งที่ถูกต้องในภายหลังจากที่เด็กได้คิดเล้ว
  
        ตัวอย่างการทดลอง จมหรือลอย
     ให้เด็กได้สังเกตพร้อมกับการทำกิจกรรมทดลองไปด้วย ว่าทำไม่นํ้ามันจึงลอยนํ้าได้ เพรราะนํ้ามันเบากว่านํ้า ส่วนทรายกับนํ้าตาลหนักกว่านํ้าจึงจมนั้นเอง 

*****จากทุกกิจกรรมจะสังเกตได้ว่าเด็กมีความอยากรู้อยากเห็นมีความตื่นเต้นอยู่ตลอดวลา ชังสังเกต เเละชังตอบคำถาม กล้าเเสดงออก เเละมีการถามอยู่เมื่อมีโอกาส*****


วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคารที่ 15 กันยายน 2558


                                    Lesson 6


Knowledge  :  (ความรู้)







นำเสนอบทความ น.ส. สุจิตร มาวงค์  เลขที่  23
เรื่อง เเนวทางสอนคิดเติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล

นำเสนอ บทความ น.ส. ประภัสสร  สีหบุตร  เลขที่ 22
เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านการล่านิทานเด็กปฐมวัย












แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์


Skill:

  • การวิเคราะห์ สังเคราะห์
  • การฝึกระดมความคิดเกี่บวกับคำถามที่อาจารย์ถามในคาบ


Apply:
  • นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอนและการเขียนแผน และนำไปพัฒนาด้านสติปัญญาทางวิทยาศาสตร์ของเด็กให้ดียิ่งขึ้น และเป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเด็ก

Teaching  Techniques:
  • การใช้คำถามให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
  • การอธิบาย ยกตัวอย่าง
  • การใช้เทคโนโลยีในการสอน power point
Evaluation:
  • Teacher   เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ อธิบายเนื้อหาในการสอนได้ละเอียดเข้าใจง่าย
  • Friends แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
  • Self  เข้าเรียนสาย แต่งกายเรียบนร้อย มีการจดบันทึกในการเรียน มีส่วนรวมในการตอบคำถาม



วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคารที่ 08 กันยายน 2558



Lesson 5

     
        การประดิษฐ์สิ่งของเหลือใช้แล้วนำไปสู่การเรียนทาง

วิทยาศาสตร์ ซึ่งครูผู้สอนต้องมีองค์ความรู้ โดยดูจากหน่วยที่ครูผู้

สอนกำหนด โดยให้เด็กได้ลงมือกระทำในกิจกรรมสร้างสรรค์

Activity:
            
     นำกระดาษที่เหลือใช้นำมาประดิษฐ์เป็นอะไรก็ได้ แล้วได้ผล

ประดิษฐ์ที่ได้นำสู่การเรียนรู้ทางวิทยาศษสตร์ เช่น การนำเสนอของ

เพื่อนๆ ในเรื่องของ ลม เสียง ฯ 

เเสง >>> เดินทางเป็นเส้นตรง


เสีย >>> วัตถุกับวัตถุกระทบกัน


ลม >>> การเคลื่อนที่ของอากาศ  ลมมีตัวตนและต้องการที่อยู่  

ลมมีแรงสามารถทำให้วัสถุเคลื่อนที่ได้
                      

ผลงานของเพื่อนๆ




skills (ทักษะ)


- การฝึกคิดจินตนาการสิ่งที่จะประดิษฐ์ว่า จะประดิษฐ์อะไรเพื่อใหสอดคล้องกับวิทยาศาสตร์

Apply(การประยุกต์ใช้)


-สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่ทำไปปรับใช้กับการสอนเด็กในเรื่องของ

วิทยาศาสตร์ในอนาคต

-การนำสิ่งของใกล้ตัวมาประดิษฐ์เเละสอนเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์ได้


Evaluation:
.
  • Teacher   เข้าสอนตรงเวลา อธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมที่มอบหมายให้ทำได้อย่างละเอียดครบถ้วน
  • Friends แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
  • Self  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบนร้อย มีการจดบันทึกในการเรียน

บันทึกการเรียนประจำวันอังคารที่ 01 กันยายน 2558




Lesson 4


เข้าร่วมโครงการศึกษาศาสตร์วิชาการ

ในหัวข้อ ทักษะการเรียนรู้ในศตรรษที่ 21 



Knowledge  :  (ความรู้)



ทักษะการเรียนรู้ในศตรรษที่ 21

              ดร. อภิภู  สิทธิภูมิมงคล มหาวิทยาลัยมหิดล


การเรียนรู้ในศตรรษที่ 21 ควรเป็นอย่างไร





การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21











 ทักษะเเห่งอนาคต











ทักษะของคนในศตรรษที่ 21 การเรียนรู้  3R * 7C






ห้องเรียนสำหรับการศึกษาศตวรรษที่ 21

















Skill:

  • ได้เรียนรู้ถึงทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Apply:
  • สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนรู้ในศตววษที่ 21 มาประยุกต์และปรับใช้ในการออกแบบการสอนให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยได้